โทลูอีนไดไอโซไซยาเนต (80/20 อัตราส่วนผสมของ 2,4- และ 2,6 - ไอโซเมอร์) | ICSC: 1783 (พฤศจิกายน 2019) |
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 26471-62-5 |
UN #: 2078 |
EC Number: 247-722-4 |
อันตรายเฉียบพลัน | การป้องกัน | การระงับอัคคีภัย | |
---|---|---|---|
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด | การเผาไหม้ ปล่อยไอควันหรือแก๊สที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรือเป็นพิษจากการเกิดเพลิงไหม้ เสี่ยงต่อไฟไหม้และการระเบิดเป็นผลจากการแตกตัวเมื่อได้รับความร้อน | ห้ามใกล้เปลวไฟ ห้ามสัมผัสกับน้ำ | ใช้ powder, carbon dioxide, water in large amounts. ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น ไม่ใช้น้ำดับไฟโดยตรง การดับไฟจากที่กําบัง |
หลีกเลี่ยงทุกการสัมผัสสารเคมีนี้! ทุกรายที่ได้รับสัมผัสสารนี้ควรปรึกษาแพทย์ | |||
---|---|---|---|
อาการแสดง | การป้องกัน | การปฐมพยาบาล | |
ทางการหายใจ | หงุดหงิด เจ็บคอ ไอ ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน หายใจมีเสียงหวีด กล้ามเนื้อหน้าอกหดตัว | ใช้วิธีควบคุมทางวิศวกรรมที่เหมาะสม | อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน ท่ากึ่งนั่งกึ่งนอน ส่งต่อแพทย์ทันที |
ทางผิวหนัง | ผื่นแดง เจ็บปวด แผล | ถุงมือป้องกัน เสื้อผ้าป้องกัน | (โปรดอ่านข้อสังเกตเพิ่มเติม) ให้ถอดเสื้อผ้าหรือชุดที่ปนเปื้อนออก ค่อย ๆ ชำระล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ ส่งต่อ ไปพบแพทย์เพื่อให้การรักษา |
ทางตา | รอยแดง ความเจ็บปวด | สวมใส่ ในการป้องกันการหายใจแบบผสมผสาน | ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ |
ทางปาก | การระคายเคือง คอแห้ง ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน | บ้วนปาก ส่งต่อไปพบแพทย์ทันที |
การกำจัดทิ้ง | การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์ |
---|---|
อพยพออกจากพื้นที่อันตราย! ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ควรมีการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินพิเศษ |
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria) ![]() ![]() อันตราย
อาจเสียชีวิตได้หากหายใจสารนี้เข้าสู่ร่างกายก่อให้เกิดการระคายเคืองตารุนแรง เหตุอันควรสงสัยว่าเป็นสาเหตุทำให้เกิดโรคมะเร็ง เป็นอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำโดยมีผลกระทบระยะยาว อาจก่อให้เกิดอาการแพ้ที่ผิวหนัง อาจ่กอให้เกิดการแพ้ หรือมีอาการหอบหืด หรือหายใจลำบาก อาจระคายเคืองทางเดินหายใจ การขนส่ง |
การเก็บ | |
แยกจาก food and feedstuffs แยกจาก โปรดอ่านเพิ่มเติมในส่วนของอันตรายจากสารเคมี เก็บรักษาไว้ในบรรจุภัณฑ์เดิม อยู่ในที่เย็น เก็บรักษาในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี เก็บรักษาในพื้นที่ที่ไม่มีการระบายหรือมีท่อระบายน้ำ การเก็บรักษาในสภาวะที่เหมาะสมให้ทำตามคำแนะนำของผู้ผลิต | |
การบรรจุ/การหีบห่อ | |
ไม่ขนส่งร่วมกับอาหารและภาชนะสำหรับบรรจุอาหาร หรือภาชนะบรรจุสำหรับให้อาหาร |
โทลูอีนไดไอโซไซยาเนต (80/20 อัตราส่วนผสมของ 2,4- และ 2,6 - ไอโซเมอร์) | ICSC: 1783 |
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี | |
---|---|
สถานะทางกายภาพของสาร
อันตรายทางกายภาพ
อันตรายทางเคมี
|
C9H6N2O2สูตรโมเลกุล |
การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ | |
---|---|
ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
|
ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
|
ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน) |
---|
TLV: (inhalable fraction and vapour): 0.001 ส่วนในล้านส่วน (ppm) กรณีค่าเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงาน (TWA); 0.005 ส่วนในล้านส่วน (ppm) กรณ๊ขีดจำกัดระยะสั้น (STEL); (ผิวหนัง); (ลดภูมิไวเกิน); (เพิ่มภูมิไวเกิน); A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans); กำหนดค่า BEI. MAK: (vapour and aerosol): 0.007 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (mg/m3), 0.001 ส่วนต่อล้านส่วน (ppm); ประเภทของขีดจำกัดสูงสุด (peak limitation category): I(1); (momentary value that should not be exceeded): 0.035 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (mg/m3), 0.005 ส่วนต่อล้านส่วน (ppm); กลุ่มเสี่ยงตั้งครรภ์ (pregnancy risk group): C; ภูมิไวเกินของทางเดินหายใจและผิวหนัง (SAH) |
สิ่งแวดล้อม |
---|
สารนี้มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ สารนี้อาจก่อให้เกิดผลกระทบระยะยาวต่อสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม |
ข้อสังเกต |
---|
สารละลายอะซิดิก (acidic solutions) จะสลายตัวอย่างช้า ๆ ในน้ำแล้วสร้างสารคาร์บอนไดซัลไฟด์ (carbon disulfide) และอะมีน (amines) มักไม่มีอาการหอบหืดปรากฏชัดเจนจนกว่าระยะเวลา 2 - 3 ชั่วโมงผ่านไป และอาการหอบหืดจะกำเริบขึ้นเมื่อมีการเคลื่อนไหวหรือออกแรง จึงจำเป็นต้องมีการพักและมีการสังเกตทางการแพทย์ ผู้ที่มีอาการหอบหืดจากสารนี้ ควรหลีกเลี่ยงการสัมผัสสารนี้ การได้กลิ่นจะเป็นการเตือนหากภาวะเกินค่าขีดจำกัดการได้รับสัมผัสไม่เพียงพอต่อการระวังเหตุการณ์ โปรดอ่าน ICSC 0339 |
ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม | ||
---|---|---|
EC Classification |
(th) | ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล |