ไตรคลอโรไอโซไซยานูริกแอร์ซิด | ICSC: 1675 (เมษายน 2007) |
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 87-90-1 |
UN #: 2468 |
EC Number: 201-782-8 |
อันตรายเฉียบพลัน | การป้องกัน | การระงับอัคคีภัย | |
---|---|---|---|
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด | ไม่ได้เป็นสารที่สันดาปได้แต่เป็นสารที่เพิ่มการสันดาปของสารอื่น ปล่อยไอควันหรือแก๊สที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรือเป็นพิษจากการเกิดเพลิงไหม้ มีความร้อนเสี่ยงต่อการระเบิด สารไวไฟ สารที่เข้ากันไม่ได้จะมีความเสี่ยงต่อการระเบิดเมื่อได้รับสัมผัสP1|, | หรือ ]. โปรดอ่านอันตรายของสารเคมี | ห้ามสัมผัสกับสารติดไฟ | ใช้ water in large amounts, foam, ผงเคมี. ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น ไม่ใช้น้ำดับไฟโดยตรง |
ควบคุมสุขอนามัยอย่างเข้มงวด | |||
---|---|---|---|
อาการแสดง | การป้องกัน | การปฐมพยาบาล | |
ทางการหายใจ | ไอ เจ็บคอ หายใจลำบาก | ใช้ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ | อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน ท่ากึ่งนั่งกึ่งนอน ควรผายปอด ส่งต่อแพทย์ |
ทางผิวหนัง | ผื่นแดง | ถุงมือป้องกัน | ขั้นตอนแรกให้ค่อยๆ ชำระล้างด้วยน้ำเป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที จากนั้นให้ถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนออกแล้วค่อยๆ ชำระล้างผิวหนังด้วยน้ำอีกครั้ง |
ทางตา | รอยแดง ความเจ็บปวด แผลไฟไหม้ | สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย | ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) นำส่งแพทย์ทันที |
ทางปาก | ปวดท้อง มึนงง ช็อกหรือแฟบ | ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน | บ้วนปาก ให้ดื่มน้ำหนึ่งหรือสองแก้ว ไม่ทำให้อาเจียน ส่งต่อไปพบแพทย์ |
การกำจัดทิ้ง | การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์ |
---|---|
การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ใช้เครื่องช่วยการหายใจ (repirator) ที่ใช้ตัวกรองอนุภาค (filter) สำหรับป้องกันความเข้มข้นของสารในอากาศที่เข้าสู่ทางเดินหายใจ ห้ามปล่อยสารเคมีนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม ให้กวาดสารที่หกรั่วไหลลงในภาชนะบรรจุที่ปิดและแห้ง และผนึกแน่น ให้ตระหนักถึงการเก็บสารในภาชนะบรรจุอย่างระมัดระวัง ดังนั้น วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งให้ขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) |
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria) ![]() ![]() ![]() ![]() อันตราย
อาจทำให้เกิดดพลิงไหม้; เป็นตัวออกซิไดซ์ (oxidizer)เป็นอันตรายหากกลืนกินสารนี้ อาจเสียชีวิตได้หากหายใจสารนี้เข้าสู่ร่างกาย สาเหตุ ระคายเคืองผิวหนังไม่รุนแรง สาเหตุ ทำลายตารุนแรง เป็นพิษมากต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ การขนส่ง |
การเก็บ | |
เก็บในที่แห้ง มีการปิดผนึก แยกจาก amines, combustible substances และ reducing agents (โปรดอ่านอันตรายจากสารเคมีเพิ่มเติม) เก็บรักษาในพื้นที่ที่ไม่มีการระบายหรือมีท่อระบายน้ำ จัดการการบำบัดน้ำเสียจากการดับเพลิง | |
การบรรจุ/การหีบห่อ | |
ไตรคลอโรไอโซไซยานูริกแอร์ซิด | ICSC: 1675 |
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี | |
---|---|
สถานะทางกายภาพของสาร
อันตรายทางกายภาพ
อันตรายทางเคมี
|
C3Cl3N3O3สูตรโมเลกุล |
การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ | |
---|---|
ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
|
ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
|
ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน) |
---|
สิ่งแวดล้อม |
---|
สารนี้มีพิษมากต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ ต้องไม่แพร่สารนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม |
ข้อสังเกต |
---|
เมื่อสารนี้ละลายในน้ำจะเกิดสารที่เป็นกรดได้แก่ กรดไฮโปคลอริกและกรดไซยานูริก อาการปอดบวมนั้น มักพบบ่อยว่ายังมีอาการไม่ชัดเจน จนกว่าจะผ่านระยะเวลา 2 - 3 ชั่วโมง และมีการออกกำลังกาย ก็จะพบว่ามีปอดบวมชัดเจน การพักผ่อนและการมีแพทย์สังเกตอาการเป็นสิ่งจำเป็น ควรพิจารณาการให้การบำบัดการหายใจโดยแพทย์หรือโดยผู้ที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการ โปรดอ่าน ICSC 1313 |
ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม | ||
---|---|---|
EC Classification สัญลักษณ์ : O, Xn, N; R: 8-22-36/37-31-50/53; S: (2)-8-26-41-60-61 |
(th) | ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล |