« กลับไปสู่รายการผลของการสืบค้น  
สตาร์ช หรือ แป้งICSC: 1553 (ตุลาคม 2004)
สตาร์ช หรือ แป้ง
อะมีลัม
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 9005-25-8
EC Number: 232-679-6

  อันตรายเฉียบพลัน การป้องกัน การระงับอัคคีภัย
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด การเผาไหม้  อนุภาคเล็กมากหรือละเอียดที่ถูกปล่อยออกมาจะมาผสมกับอากาศและทำให้ระเบิดได้  ห้ามใกล้เปลวไฟ  ทำให้เป็นระบบปิด ให้ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าป้องกันระเบิดและไฟฉายป้องกันระเบิด ป้องกันการทับถมของฝุ่นละออง  ใช้ water spray, powder, foam, carbon dioxide.   

   
  อาการแสดง การป้องกัน การปฐมพยาบาล
ทางการหายใจ   ใช้ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ  อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน 
ทางผิวหนัง   ถุงมือป้องกัน  ค่อย ๆ ชำระล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ 
ทางตา   สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย  ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ 
ทางปาก   ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน  บ้วนปาก 

การกำจัดทิ้ง การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์
การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ใช้เครื่องช่วยการหายใจ (repirator) ที่ใช้ตัวกรองอนุภาค (filter) สำหรับป้องกันความเข้มข้นของสารในอากาศที่เข้าสู่ทางเดินหายใจ ให้กวาดสารที่หกรั่วไหลลงในภาชนะบรรจุที่ปิด ถ้าจะใช้วิธีที่เหมาะสม ให้ทำให้เปียกหรือชื้นก่อนเป็นลำดับแรกเพื่อป้องกันการเกิดฝุ่น 

ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria)

 

การขนส่ง
UN Classification
 

การเก็บ
 
การบรรจุ/การหีบห่อ
 
สตาร์ช หรือ แป้ง ICSC: 1553
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี

สถานะทางกายภาพของสาร
มีลักษณะทางกายภาพเป็นผงสีขาว  

อันตรายทางกายภาพ
ฝุ่นละอองอาจระเบิดได้ถ้าอยู่ในรูปของผงหรือเป็นเม็ดเล็กๆในอากาศ 

อันตรายทางเคมี
 

(C6H10O5)nสูตรโมเลกุล

ย่อยสลายหรือแตกตัว
ความหนาแน่น: 1.5 g/cm³
ละลายในน้ำ: ไม่ระบุ
อุณหภุูมิที่ติดไฟได้เอง: 410°C  


การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ

ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
 

ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ความเข้มข้นของอนุภาคในอากาศจะถึงระดับที่ก่อให้เกิดความรำคาญ เมื่อเกิดการกระจายตัวอย่างรวดเร็ว 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
หากผิวหนังได้รับสัมผัสสารนี้ซ้ำหรือเป็นระยะเวลานานอาจทำให้ผิวหนังอักเสบ 


ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน)
TLV: 10 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (mg/m3), กรณีค่าเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงาน (TWA); A4 (not classifiable as a human carcinogen) 

สิ่งแวดล้อม
 

ข้อสังเกต
มีแป้ง (starch) ในพืชหลายชนิด ได้แก่ ข้าวโพด มันสำปะหลัง ข้าวสาลี ข้าว ข้าวบาร์เล่ย์ ข้าวโอ๊ต ข้าวฟ่าง ถั่ว มันฝรั่ง และธัญพืชชนิดอื่น ๆ
โดยส่วนใหญ่แป้งจะประกอบด้วยอะไมโลส (amylose) 22 % ถึง 26 % และอะไมโลเพกติน (amylopectin) 74% ถึง 78%  

ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม
  EC Classification
 

(th)ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล