« กลับไปสู่รายการผลของการสืบค้น  
ไพเพอโรนิลบิวทอกไซด์ICSC: 1347 (ตุลาคม 1999)
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 51-03-6
EC Number: 200-076-7

  อันตรายเฉียบพลัน การป้องกัน การระงับอัคคีภัย
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด การเผาไหม้    ห้ามใกล้เปลวไฟ    ใช้ foam, powder, carbon dioxide.   

 ป้องกันการปล่อยละอองสารเคมี  
  อาการแสดง การป้องกัน การปฐมพยาบาล
ทางการหายใจ   ใช้ การระบายอากาศ  อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน 
ทางผิวหนัง   ถุงมือป้องกัน  ให้ถอดเสื้อผ้าหรือชุดที่ปนเปื้อนออก ค่อย ๆ ชำระล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ 
ทางตา   สวมใส่ แว่นตานิรภัย  ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ 
ทางปาก ท้องร่วง อาเจียน  ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน  บ้วนปาก ให้ดื่มน้ำหนึ่งหรือสองแก้ว พักผ่อน ส่งต่อไปพบแพทย์  

การกำจัดทิ้ง การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์
ให้เก็บของเหลวที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่มีการปิดผนึกแน่นหรือเท่าที่จะทำได้ ดูดซับของเหลวที่ยังเหลือคงค้างอยู่ด้วยทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย ดังนั้น วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งให้ขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) ห้ามปล่อยสารเคมีนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม 

ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria)

 

การขนส่ง
UN Classification
 

การเก็บ
มีการปิดผนึก 
การบรรจุ/การหีบห่อ
 
ไพเพอโรนิลบิวทอกไซด์ ICSC: 1347
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี

สถานะทางกายภาพของสาร
มีลักษณะทางกายภาพเป็นของเหลวที่มีความมัน สีเหลืองถึงสีน้ำตาล  

อันตรายทางกายภาพ
 

อันตรายทางเคมี
 

C19H30O5สูตรโมเลกุล
มวลโมเลกุล: 338.4
จุดเดือดที่ 0.13กิโลปาสกาล (kPa): 180°C
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (น้ำ = 1): 1.1
ละลายในน้ำ: ไม่ระบุ
ขุดวาบไฟ : 171°C
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของสารในชั้นน้ำและชั้นออกทานอล (log Pow): 4.29  


การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ

ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
สารนี้สามารถถุกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเอาอนุภาคของสารนี้เข้าสู่ร่างกาย และ โดยการรับประทาน 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
 

ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ไม่มีข้อบ่งชี้อัตราความเข้มข้นที่เป็นอันตรายของสารนี้ในอากาศ เมื่อมีการระเหยที่อุณหภูมิ 20°C  

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
 


ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน)
 

สิ่งแวดล้อม
สารนี้มีพิษมากต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ อาหารทะเลสารเคมีนี้สะสมได้ใน 

ข้อสังเกต
 

ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม
  EC Classification
 

(th)ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล