« กลับไปสู่รายการผลของการสืบค้น  
เมทิลอะครีลัลดีไฮด์ICSC: 1259 (พฤษภาคม 2018)
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 78-85-3
UN #: 2396
EC Number: 201-150-1

  อันตรายเฉียบพลัน การป้องกัน การระงับอัคคีภัย
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด ไวไฟสูง  ไอระเหย/ส่วนผสมของอากาศทำให้ระเบิด  ห้ามใกล้เปลวไฟ ห้ามใกล้ประกายไฟ และห้ามสูบบุหรี่  ระบบปิด ระบายอากาศ อุปกรณ์ไฟฟ้าป้องกันระเบิดและไฟฉายป้องกันการระเบิด ห้ามใช้อากาศอัดในการบรรจุสาร การถ่ายเท หรือ การขนย้าย ใช้เครื่องมือชนิดที่ไม่เกิดประกายไฟ  ใช้ water spray, powder, alcohol-resistant foam, carbon dioxide.  ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น 

 ป้องกันการปล่อยละอองสารเคมี  
  อาการแสดง การป้องกัน การปฐมพยาบาล
ทางการหายใจ ไอ เจ็บคอ รู้สึกปวดแสบปวดร้อน  ใช้ การระบายอากาศ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ  อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน 
ทางผิวหนัง ผื่นแดง เจ็บปวด  ถุงมือป้องกัน เสื้อผ้าป้องกัน  ให้ถอดเสื้อผ้าหรือชุดที่ปนเปื้อนออก ค่อย ๆ รินน้ำเปล่าล้างผิวหนัง หรือใช้ฝักบัวในการชะล้าง ส่งต่อ ไปพบแพทย์เพื่อให้การรักษา  
ทางตา รอยแดง ความเจ็บปวด แผลไฟไหม้ ล้างตาด้วยน้ำ  สวมใส่ แว่นตานิรภัย กระบังหน้า อุกรณ์ป้องกันดวงตา ในการป้องกันการหายใจแบบผสมผสาน  ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ 
ทางปาก   ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน  บ้วนปาก ส่งต่อไปพบแพทย์  

การกำจัดทิ้ง การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ เขจัดแหล่งกำเนิดประกายไฟทั้งหมด การระบายอากาศ (Ventilation) การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ชุดป้องกันที่ครบสมบูรณ์พร้อมด้วยเครื่องช่วยหายใจแบบมีถังอากาศในตัว (self-contained breathing apparatus: SCBA) ห้ามปล่อยสารเคมีนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม ห้ามล้างสารเคมีลงสู่ท่อระบายน้ำ ให้เก็บของเหลวที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่มีการปิดผนึกแน่นหรือเท่าที่จะทำได้ ดูดซับของเหลวที่ยังเหลือคงค้างอยู่ด้วยทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย ให้ล้างสารที่ยังตกค้างด้วยน้ำเปล่า ดังนั้น วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งให้ขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) 

ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria)

flam;flameskull;toxicenviro;aqua
อันตราย
ของเหลวไวไฟสูงและไอระเหย
อาจเสียชีวิตได้หากหายใจสารนี้เข้าสู่ร่างกาย
หากกลืนสารนี้หรือสัมผัสสารนี้ทางผิวหนังจะเกิดพิษต่อรางกายได้
ก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง
ก่อให้เกิดการระคายเคืองตารุนแรง
เป็นพิษมากต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ 

การขนส่ง
UN Classification
UN Hazard Class: 3; หมายเลขของสหประชาชาติระบุความเสี่ยงลำดับรอง (UN Subsidiary Risks) : 6.1; หมายเลขของสหประชาชาติระบุกลุ่มของการหีบห่อสาร (UN Pack Group): II 

การเก็บ
มีความคงทนต่อไฟ แยกจาก strong oxidants, acids, bases และ food and feedstuffs ถูกทำให้เย็น เก็บรักษาในที่มืด มีการปิดผนึก เก็บรักษาภายใต้ แก๊สเฉื่อย เก็บรักษาเมื่ออยู่ในภาวะเสถียร จัดการการบำบัดน้ำเสียจากการดับเพลิง 
การบรรจุ/การหีบห่อ
ภาชนะบรรจุที่ทนทานไม่แตกหัก
ใส่หีบห่อที่แตกง่ายลงในภาชนะบรรจุที่มีคุณสมบัติทนทานไม่แตกหัก
ไม่ขนส่งร่วมกับอาหารและภาชนะสำหรับบรรจุอาหาร หรือภาชนะบรรจุสำหรับให้อาหาร 
เมทิลอะครีลัลดีไฮด์ ICSC: 1259
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี

สถานะทางกายภาพของสาร
มีลักษณะทางกายภาพเป็นของเหลวไม่มีสีถึงสีเหลือง มีกลิ่นฉุน 

อันตรายทางกายภาพ
ไอระเหยหนักกว่าอากาศและอาจเคลื่อนตัวเหนือพื้น ซึ่งอาจเกิดการลุกไหม้ระหว่างทางได้ 

อันตรายทางเคมี
สารนี้อาจจะเกิดปฏิกิริยาพอลีเมอไรเซชัน หากถูกทำให้อุ่นขึ้นหรืออยู่ภายใต้สภาวะที่มีแสงสว่าง กรด และเบส สารนี้จะก่อให้เกิดนตรายจากการระเบิดและเพลิงไหม้ สารนี้อย่างรุนแรง จะมีปฏิกิริยากับ สารแอลคาไล สารเอมีน กรดแก่ และ สารเพอร์ออกไซด์ สารนี้เมื่อสัมผัสอากาศจะกลายเป็นสารในรูปของเพอร์ออกไซด์ ซึ่งเป็นสารเริ่มต้นที่ก่อให้เกิดพอลิเมอร์ที่ระเบิดได้ 

C4H6O / CH2=C(CH3)CHOสูตรโมเลกุล
มวลโมเลกุล: 70.1
จุดเดือด : 68 องศาเซลเซียส
จุดหลอมเหลว : -81°C
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (น้ำ = 1): 0.8
ละลายในน้ำ (ละลาย) ที่อุณหภูมิ 20°C: 6กรัมต่อ 100 มิลลิตร (g/100ml)
ความดันไอ ที่อุณหภูมิ 20°C: 16 กิโลปาสกาล (kPa)
ความหนาแน่นของไอน้ำสัมพัทธ์ (อากาศ = 1): 2.42
ขุดวาบไฟ : -15°C
อุณหภุูมิที่ติดไฟได้เอง: 295°C
ขีดจำกัดการระเบิด : 2.6-?vol% ในอากาศ
ความหนืด : 0.59 อัตราส่วนของความหนาแน่นของความหนืด ตารางมิลลิเมตรต่อวินาที (mm²/s) ที่อุณหภูมิ 20°C 


การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ

ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
สารนี้สามารถถุกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เข้าสู่ร่างกาย, ผ่านทางผิวหนัง และ โดยการรับประทาน 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
สารนี้ ทำให้ระคายเคือง ต่อ ตา, ผิวหนัง และ ทางเดินหายใจ 

ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส สารอันตรายนี้จะระเหยปนเปื้อนในอากาศอย่างรวดเร็วมาก 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
จากการสอบสวนโรค ไม่พบว่าสารนี้มีผลกระทบต่อสุขภาพ 


ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน)
 

สิ่งแวดล้อม
สารนี้มีพิษมากต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ ต้องไม่แพร่สารนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม 

ข้อสังเกต
การใส่สารกระตุ้นหรือใส่สารยับยั้งจะมีผลต่อสมบัติความเป็นพิษของสาร จึงควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
ตรวจสอบสารเปอร์ออกไซด์ก่อนการกลั่น; ถ้าพบสารเปอร์ออกไซด์ให้กำจัด 

ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม
  EC Classification
 

(th)ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล