« กลับไปสู่รายการผลของการสืบค้น  
เบนโซไนไตรล์ICSC: 1103 (ตุลาคม 1999)
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 100-47-0
UN #: 2224
EC Number: 202-855-7

  อันตรายเฉียบพลัน การป้องกัน การระงับอัคคีภัย
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด การเผาไหม้ ปล่อยไอควันหรือแก๊สที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรือเป็นพิษจากการเกิดเพลิงไหม้  มากกว่า 75 องศาเซลเซียส (°C) จะทำให้เกิดการระเบิดจากไอระเหยหรือจากการผสมของอากาศ  ห้ามใกล้เปลวไฟ  เมื่ออุณหภูมิมากกว่า 75 องศาเซลเซียส (°C) ให้ใช้ระบบปิดและมีการระบายอากาศ  ใช้ powder, AFFF, foam, carbon dioxide.  ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น 

 ป้องกันการปล่อยละอองสารเคมี  
  อาการแสดง การป้องกัน การปฐมพยาบาล
ทางการหายใจ สับสน ปวดศีรษะ หายใจลำบาก คลื่นไส้ หมดสติ อาเจียน อ่อนแอ  ใช้ การระบายอากาศ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ  อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน ควรผายปอด ส่งต่อแพทย์ 
ทางผิวหนัง ผื่นแดง  ถุงมือป้องกัน เสื้อผ้าป้องกัน  ให้ถอดเสื้อผ้าหรือชุดที่ปนเปื้อนออก ค่อย ๆ รินน้ำเปล่าล้างผิวหนัง หรือใช้ฝักบัวในการชะล้าง ส่งต่อ ไปพบแพทย์เพื่อให้การรักษา  
ทางตา รอยแดง ความเจ็บปวด  สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย อุกรณ์ป้องกันดวงตา ในการป้องกันการหายใจแบบผสมผสาน  ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ 
ทางปาก โปรดอ่านข้อมูลกรณีการหายใจเพิ่มเติม  ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน  บ้วนปาก พักผ่อน ส่งต่อไปพบแพทย์  

การกำจัดทิ้ง การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์
การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ชุดป้องกันสารเคมีซึ่งมีเครื่องช่วยหายใจแบบมีถังอากาศในตัว (self-contained breathing apparatus: SCBA) ห้ามปล่อยสารเคมีนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม ให้เก็บชองเหลวที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดผนึก ดูดซับของเหลวที่ยังเหลือคงค้างอยู่ด้วยทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย ดังนั้น วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งให้ขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) 

ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria)

 

การขนส่ง
UN Classification
UN Hazard Class: 6.1; หมายเลขของสหประชาชาติระบุกลุ่มของการหีบห่อสาร (UN Pack Group): II 

การเก็บ
แยกจาก food and feedstuffs มีการปิดผนึก เก็บรักษาในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี 
การบรรจุ/การหีบห่อ
ไม่ขนส่งร่วมกับอาหารและภาชนะสำหรับบรรจุอาหาร หรือภาชนะบรรจุสำหรับให้อาหาร 
เบนโซไนไตรล์ ICSC: 1103
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี

สถานะทางกายภาพของสาร
มีลักษณะทางกายภาพเป็นของเหลว ไม่มีสี มีกลิ่นเฉพาะ 

อันตรายทางกายภาพ
 

อันตรายทางเคมี
สลายตัว เมื่อให้ความร้อนหรือเผา สารนี้จะสร้างไอควันพิษ (ฟูมพิษ) รวมทั้ง สารไฮโดรเจนไซยาไนด์ และ สารไนโตรเจนออกไซด์ สารนี้อย่างรุนแรง จะมีปฏิกิริยากับ กรดแก่ จะเกิดไฮโดรเจนไซยาไนด์มีพิษสูง ทำลาย พลาสติกบางส่วน 

C7H5N / C6H5(CN)สูตรโมเลกุล
มวลโมเลกุล: 103.1
จุดเดือด : 190.7 องศาเซลเซียส
จุดหลอมเหลว : -12.8°C
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (น้ำ = 1): 1.0
ละลายในน้ำ (ได้น้อย) ที่อุณหภูมิ 22°C: 0.1-0.5กรัมต่อ 100 มิลลิตร (g/100ml)
ความดันไอ ที่อุณหภูมิ 25°C: 102 ปาสกาล (Pa)
ความหนาแน่นของไอน้ำสัมพัทธ์ (อากาศ = 1): 3.6
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของส่วนผสมระหว่าง ไอระเหย/อากาศ (vapour/air-mixture) ที่อุณหภูมิ 20°C (อากาศ = 1): 1.00
จุดวาบไฟ : อุณหภูมิ 75°C c.c.
อุณหภุูมิที่ติดไฟได้เอง: 550°C
ขีดจำกัดการระเบิด : 1.4-7.2vol% ในอากาศ
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของสารในชั้นน้ำและชั้นออกทานอล (log Pow): 1.56  


การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ

ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
สารนี้สามารถถุกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ, ผ่านทางผิวหนัง และ โดยการรับประทาน 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
สารนี้ ทำให้ระคายเคือง ต่อ ตา, ผิวหนัง และ ทางเดินหายใจ สารนี้อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อการหายใจของเซลล์ กรณีนี้อาจมีผลทำให้ตัวเขียวคล้ำ ผลกระทบต่อสุขภาพอาจปรากฏช้า ควรให้แพทย์ตรวจอาการ 

ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ไม่มีข้อบ่งชี้อัตราความเข้มข้นที่เป็นอันตรายของสารนี้ในอากาศ เมื่อมีการระเหยที่อุณหภูมิ 20°C  

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
 


ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน)
 

สิ่งแวดล้อม
สารนี้มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ 

ข้อสังเกต
มีความจำเป็นต้องทำการรักษาเฉพาะในกรณีของพิษของสารนี้; มีการจัดเตรียมคำแนะนำที่เหมาะสมพร้อมใช้งาน 

ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม
  EC Classification
สัญลักษณ์ : Xn; R: 21/22; S: (2)-23 

(th)ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล