ไซยาโนเจนคลอไรด์ | ICSC: 1053 (ตุลาคม 1999) |
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 506-77-4 |
UN #: 1589 (ห้าม) |
EC Number: 208-052-8 |
อันตรายเฉียบพลัน | การป้องกัน | การระงับอัคคีภัย | |
---|---|---|---|
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด | ไม่สันดาป ความร้อนจะเพิ่มความดันที่เสี่ยงต่อการระเบิด ปล่อยไอควันหรือแก๊สที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรือเป็นพิษจากการเกิดเพลิงไหม้ | ในกรณีที่มีเพลิงไหม้โดยรอบ ให้ใช้สารดับเพลิงที่เหมาะสม ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของภาชนะบรรจุสารเคมีด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้กับภาชนะเก็บสารเคมีนั้น ไม่ใช้น้ำดับไฟโดยตรง |
หลีกเลี่ยงทุกการสัมผัสสารเคมีนี้! | |||
---|---|---|---|
อาการแสดง | การป้องกัน | การปฐมพยาบาล | |
ทางการหายใจ | เจ็บคอ เซื่องซึม สับสน คลื่นไส้ อาเจียน ไอ หมดสติ อาการอาจปรากฏช้า โปรดอ่านข้อสังเกตเพิ่มเติม | ใช้ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ | อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน ท่ากึ่งนั่งกึ่งนอน ควรผายปอด ส่งต่อแพทย์ |
ทางผิวหนัง | เมื่อสัมผัสกับของเหลว: แผลน้ำแข็งกัด อาจถูกดูดซึม ผื่นแดง เจ็บปวด | ถุงมือป้องกันความเย็น เสื้อผ้าป้องกัน | ในกรณีเป้นแผลน้ำแข็งกัด: ให้ค่อยๆ ล้างด้วยน้ำ โดยไม่ต้องถอดเสื้อผ้าออก ส่งต่อ ไปพบแพทย์เพื่อให้การรักษา |
ทางตา | หากสัมผัสกับของเหลว : น้ำแข็งกัด รอยแดง ความเจ็บปวด | สวมใส่ กระบังหน้า อุกรณ์ป้องกันดวงตา ในการป้องกันการหายใจแบบผสมผสาน | ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ |
ทางปาก | ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน |
การกำจัดทิ้ง | การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์ |
---|---|
อพยพออกจากพื้นที่อันตราย! ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ การระบายอากาศ (Ventilation) ไม่ฉีดน้ำโดยตรงไปยังของเหลว ขจัดหมอกไอระเหยหรือเมฆไอระเหยด้วยการฉีดพ่นน้ำเป็นละอองฝอย (สเปรย์) ห้ามล้างสารเคมีลงสู่ท่อระบายน้ำ การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ชุดป้องกันสารเคมีซึ่งมีเครื่องช่วยหายใจแบบมีถังอากาศในตัว (self-contained breathing apparatus: SCBA) |
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria) การขนส่ง |
การเก็บ | |
เก็บรักษาในอาคารที่มีความคงทนต่อไฟ จัดการการบำบัดน้ำเสียจากการดับเพลิง อยู่ในที่เย็น เก็บรักษาในพื้นที่ที่ไม่มีการระบายหรือมีท่อระบายน้ำ | |
การบรรจุ/การหีบห่อ | |
มลพิษทางทะเล |
ไซยาโนเจนคลอไรด์ | ICSC: 1053 |
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี | |
---|---|
สถานะทางกายภาพของสาร
อันตรายทางกายภาพ
อันตรายทางเคมี
|
ClCNสูตรโมเลกุล |
การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ | |
---|---|
ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
|
ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
|
ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน) |
---|
TLV: 0.3 ส่วนในล้านส่วน (ppm) กรณ๊ขีดจำกัดระยะสั้น (STEL) |
สิ่งแวดล้อม |
---|
สารนี้มีพิษมากต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ |
ข้อสังเกต |
---|
ทุกช่วงเวลาของการทำงานต้องไม่มีการได้รับสัมผัสสารนี้เกินค่าขีดจำกัดที่กำหนด อาการปอดบวมนั้น มักพบบ่อยว่ายังมีอาการไม่ชัดเจน จนกว่าจะผ่านระยะเวลา 2 - 3 ชั่วโมง และมีการออกกำลังกาย ก็จะพบว่ามีปอดบวมชัดเจน การพักผ่อนและการมีแพทย์สังเกตอาการเป็นสิ่งจำเป็น ควรพิจารณาด้วยว่าควรให้แพทย์หรือเจ้าหน้าที่พ่นสเปรย์ที่เหมาะสมให้อย่างทันทีทันใดเพื่อช่วยการหายใจ มีความจำเป็นต้องทำการรักษาเฉพาะในกรณีของพิษของสารนี้; มีการจัดเตรียมคำแนะนำที่เหมาะสมพร้อมใช้งาน ห้ามพ่นน้ำเป็นละอองฝอย (spray water) ลงบนกระบอกสูบหรือถังเก็บทรงกระบอกที่มีการรั่วซึ่ม (เพื่อป้องกันการระเบิดของกระบอกสูบหรือถังเก็บทรงกระบอก) ให้หมุนกระบอกสูบหรือถังเก็บทรงกระบอกด้านที่รั่วไหลขึ้นเพื่อป้องกันการรั่วของแก๊สในสถานะของเหลว |
ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม | ||
---|---|---|
EC Classification |
(th) | ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล |