« กลับไปสู่รายการผลของการสืบค้น  
โซเดียมคลอไรต์ICSC: 1045 (เมษายน 2000)
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 7758-19-2
UN #: 1496
EC Number: 231-836-6

  อันตรายเฉียบพลัน การป้องกัน การระงับอัคคีภัย
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด ไม่ได้เป็นสารที่สันดาปได้แต่เป็นสารที่เพิ่มการสันดาปของสารอื่น ปล่อยไอควันหรือแก๊สที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรือเป็นพิษจากการเกิดเพลิงไหม้  เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้และระเบิดเมื่อสัมผัสกับตัวรีดิวซ์ สารอินทรีย์  ห้ามสัมผัสกับสารติดไฟ สารรีดิวซ์    ใช้ water in large amounts, water spray. ไม่ใช้ คาร์บอนไดออกไซด์  ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น 

 ป้องกันการแพร่กระจายของฝุ่น  
  อาการแสดง การป้องกัน การปฐมพยาบาล
ทางการหายใจ ไอ เจ็บคอ  ใช้ การระบายอากาศ (ไม่ใช้ในกรณีเป็นฝุ่นผง) การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ  อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน 
ทางผิวหนัง ผื่นแดง เจ็บปวด  ถุงมือป้องกัน  ขั้นตอนแรกให้ค่อยๆ ชำระล้างด้วยน้ำเป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที จากนั้นให้ถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนออกแล้วค่อยๆ ชำระล้างผิวหนังด้วยน้ำอีกครั้ง 
ทางตา รอยแดง ความเจ็บปวด  สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย  ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ 
ทางปาก ปวดท้อง อาเจียน  ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน ล้างมือก่อนรับประทานอาหาร  บ้วนปาก ทำให้อาเจียน (เฉพาะกรณีที่บุคคลนั้นยังมีสติรู้สึกตัว) ส่งต่อไปพบแพทย์  

การกำจัดทิ้ง การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์
การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ใช้เครื่องช่วยการหายใจ (repirator) ที่ใช้ตัวกรองอนุภาค (filter) สำหรับป้องกันความเข้มข้นของสารในอากาศที่เข้าสู่ทางเดินหายใจ ให้กวาดสารที่หกรั่วไหลลงในภาชนะบรรจุที่ปิด ถ้าจะใช้วิธีที่เหมาะสม ให้ทำให้เปียกหรือชื้นก่อนเป็นลำดับแรกเพื่อป้องกันการเกิดฝุ่น ให้ตระหนักถึงการเก็บสารในภาชนะบรรจุอย่างระมัดระวัง ดังนั้น วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งให้ขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) ห้ามดูดซับในขี้เลื่อยหรือสารดูดซับที่ติดไฟได้อื่นๆ 

ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria)

 

การขนส่ง
UN Classification
UN Hazard Class: 5.1; หมายเลขของสหประชาชาติระบุกลุ่มของการหีบห่อสาร (UN Pack Group): II 

การเก็บ
แยกจาก combustible substances, reducing agents, acids และ incompatible materials (โปรดอ่านอันตรายจากสารเคมีเพิ่มเติม) อยู่ในที่เย็น เก็บในที่แห้ง เก็บรักษาในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี 
การบรรจุ/การหีบห่อ
 
โซเดียมคลอไรต์ ICSC: 1045
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี

สถานะทางกายภาพของสาร
มีลักษณะทางกายภาพเป็นผลึกหรือเป็นเกล็ดเล็กๆ ที่สามารถดูดซับความชื้น สีขาว 

อันตรายทางกายภาพ
 

อันตรายทางเคมี
สลายตัว ที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส (°C) สารนี้จะสร้างไอควัน (ฟูม) ที่มีพิษและมีฤทธิ์กัดกร่อน สารนี้จะก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดและเพลิงไหม้ สารนี้เป็นสารออกซิแดนท์ที่แรง สารนี้มีปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับเป็นวัสดุติดไฟและเป็นสารรีดิวซ์ สารนี้อย่างรุนแรง จะมีปฏิกิริยากับ กรด สารประกอบแอมโมเนียม สารฟอสฟอรัส สารซัลเฟอร์ และ สารโซเดียมไดไทโอเนต สารนี้จะก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิด 

NaClO2สูตรโมเลกุล
มวลโมเลกุล: 90.44
ย่อยสลายหรือแตกตัว ที่ 180-200°C
ความหนาแน่น: 2.5 g/cm³
ละลายในน้ำ ที่อุณหภูมิ 17°C: 39กรัมต่อ 100 มิลลิตร (g/100ml) 


การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ

ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
สารนี้สามารถถุกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเอาอนุภาคของสารนี้เข้าสู่ร่างกาย และ โดยการรับประทาน 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
สารนี้ ทำให้ระคายเคือง ต่อ ตา, ผิวหนัง และ ทางเดินหายใจ 

ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส สารนี้ระเหยได้เล็กน้อย ความเข้มข้นของอนุภาคจะถึงระดับความเข้มข้นที่เป็นอันตรายอย่างรวดเร็ว เมื่อเปิดให้มีการกระจายตัวออกไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นผงฝุ่น 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
 


ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน)
 

สิ่งแวดล้อม
 

ข้อสังเกต
อาจทำให้ช็อกง่ายได้หากมีวัตถุอินทรีย์ผสมอยู่ด้วย
ค่อยๆรินน้ำเปล่าชะล้างเสื้อผ้าืั้ปนเปื้อนสารนี้เพราะอาจก่อให้เกิดอันตรายจากเพลิงไหม้ได้ 

ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม
  EC Classification
 

(th)ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล