คีทีน | ICSC: 0812 (ตุลาคม 1997) |
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 463-51-4 |
EC Number: 207-336-9 |
อันตรายเฉียบพลัน | การป้องกัน | การระงับอัคคีภัย | |
---|---|---|---|
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด | ไวไฟสูงสุด แก๊ส/อากาศผสม เป็นสารที่ทำให้ระเบิดได้ | ห้ามใกล้เปลวไฟ ห้ามใกล้ประกายไฟ และห้ามสูบบุหรี่ ระบบปิด ระบายอากาศ อุปกรณ์ไฟฟ้าป้องกันระเบิดและไฟฉายป้องกันการระเบิด | ใช้ powder, carbon dioxide. ไม่ใช้ น้ำ ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของภาชนะบรรจุสารเคมีด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้กับภาชนะเก็บสารเคมีนั้น ไม่ใช้น้ำดับไฟโดยตรง |
ควบคุมสุขอนามัยอย่างเข้มงวด | |||
---|---|---|---|
อาการแสดง | การป้องกัน | การปฐมพยาบาล | |
ทางการหายใจ | ไอ หายใจสั้น อาการอาจปรากฏช้า โปรดอ่านข้อสังเกตเพิ่มเติม | ใช้ การระบายอากาศ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ | อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน ท่ากึ่งนั่งกึ่งนอน ควรผายปอด ส่งต่อแพทย์ |
ทางผิวหนัง | ผื่นแดง | ถุงมือป้องกัน | ให้ถอดเสื้อผ้าหรือชุดที่ปนเปื้อนออก ค่อย ๆ รินน้ำเปล่าล้างผิวหนัง หรือใช้ฝักบัวในการชะล้าง |
ทางตา | รอยแดง ความเจ็บปวด | สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย อุกรณ์ป้องกันดวงตา ในการป้องกันการหายใจแบบผสมผสาน | ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ |
ทางปาก |
การกำจัดทิ้ง | การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์ |
---|---|
อพยพออกจากพื้นที่อันตราย! ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ การระบายอากาศ (Ventilation) การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ใช้ชุดป้องกันสารเคมีแบบป้องกันแก๊ส (gas-tight chemical protection suit) พร้อมทั้งมีเครื่องช่วยหายใจแบบมีถังอากาศในตัว (self-contained breathing apparatus: SCBA) |
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria) การขนส่ง |
การเก็บ | |
สารไม่สามารถถูกเก็บรักษาหรือขนส่ง | |
การบรรจุ/การหีบห่อ | |
คีทีน | ICSC: 0812 |
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี | |
---|---|
สถานะทางกายภาพของสาร
อันตรายทางกายภาพ
อันตรายทางเคมี
|
C2H2O / CH2=C=Oสูตรโมเลกุล |
การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ | |
---|---|
ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
|
ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
|
ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน) |
---|
TLV: (ceiling value): 0.05 ส่วนในล้านส่วน (ppm) กรณ๊ขีดจำกัดระยะสั้น (STEL) |
สิ่งแวดล้อม |
---|
ข้อสังเกต |
---|
แก้ไขความรุนแรงของเพลิงไหม้ด้วยสารดับเพลิง เช่น น้ำ อาการปอดบวมจะยังไม่แสดงชัดเจนกว่าเวลาผ่านไปสองชั่วโมงภายหลังการได้รับการบาดเจ็บ ดังนั้นการให้พักผ่อนและมีการสังเกตอาการทางการแพทย์จึงเป็นสิ่งจำเป็น ควรพิจารณาด้วยว่าควรให้แพทย์หรือเจ้าหน้าที่พ่นสเปรย์ที่เหมาะสมให้อย่างทันทีทันใดเพื่อช่วยการหายใจ ทุกช่วงเวลาของการทำงานต้องไม่มีการได้รับสัมผัสสารนี้เกินค่าขีดจำกัดที่กำหนด |
ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม | ||
---|---|---|
EC Classification |
(th) | ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล |