ไพโรแกลลิกแอร์ซิด หรือ กรดไพโรแกลลิก | ICSC: 0770 (เมษายน 2006) |
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 87-66-1 |
EC Number: 201-762-9 |
อันตรายเฉียบพลัน | การป้องกัน | การระงับอัคคีภัย | |
---|---|---|---|
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด | การเผาไหม้ อนุภาคเล็กมากหรือละเอียดที่ถูกปล่อยออกมาจะมาผสมกับอากาศและทำให้ระเบิดได้ | ห้ามใกล้เปลวไฟ ทำให้เป็นระบบปิด ให้ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าป้องกันระเบิดและไฟฉายป้องกันระเบิด ป้องกันการทับถมของฝุ่นละออง | ใช้ water, foam, ผงเคมี, carbon dioxide. |
ป้องกันการแพร่กระจายของฝุ่น | |||
---|---|---|---|
อาการแสดง | การป้องกัน | การปฐมพยาบาล | |
ทางการหายใจ | ไอ เจ็บคอ | ใช้ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ | อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน หากรู้สึกไม่สบายให้รีบพบแพทย์ทันที |
ทางผิวหนัง | ผื่นแดง | ถุงมือป้องกัน เสื้อผ้าป้องกัน | ให้ถอดเสื้อผ้าหรือชุดที่ปนเปื้อนออก ค่อย ๆ รินน้ำเปล่าล้างผิวหนัง หรือใช้ฝักบัวในการชะล้าง |
ทางตา | รอยแดง ความเจ็บปวด | สวมใส่ แว่นตานิรภัย | ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ |
ทางปาก | อาเจียน ท้องร่วง | ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน | บ้วนปาก ส่งต่อไปพบแพทย์ |
การกำจัดทิ้ง | การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์ |
---|---|
การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ใช้เครื่องช่วยการหายใจ (repirator) ที่ใช้ตัวกรองอนุภาค (filter) สำหรับป้องกันความเข้มข้นของสารในอากาศที่เข้าสู่ทางเดินหายใจ ห้ามปล่อยสารเคมีนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม ให้กวาดสารที่หกรั่วไหลลงในภาชนะบรรจุที่ปิด ถ้าจะใช้วิธีที่เหมาะสม ให้ทำให้เปียกหรือชื้นก่อนเป็นลำดับแรกเพื่อป้องกันการเกิดฝุ่น ให้ตระหนักถึงการเก็บสารในภาชนะบรรจุอย่างระมัดระวัง ดังนั้น วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งให้ขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) |
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria) ![]() ![]() เตือนภัย
เป็นอันตรายหากกลืนกินสารนี้สาเหตุ ระคายเคืองตารุนแรง ความบกพร่องทางพันธุกรรมเหตุอันควรสงสัย การขนส่ง |
การเก็บ | |
แยกจาก strong oxidants และ strong bases | |
การบรรจุ/การหีบห่อ | |
ไพโรแกลลิกแอร์ซิด หรือ กรดไพโรแกลลิก | ICSC: 0770 |
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี | |
---|---|
สถานะทางกายภาพของสาร
อันตรายทางกายภาพ
อันตรายทางเคมี
|
C6H6O3 / C6H3(OH)3สูตรโมเลกุล |
การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ | |
---|---|
ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
|
ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
|
ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน) |
---|
สิ่งแวดล้อม |
---|
สารนี้มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ |
ข้อสังเกต |
---|
ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม | ||
---|---|---|
EC Classification สัญลักษณ์ : Xn; R: 20/21/22-68-52/53; S: (2)-36/37-61 |
(th) | ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล |