ไตรฟลูออโรคลอโรเอทธิลีน | ICSC: 0685 (เมษายน 2002) |
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 79-38-9 |
UN #: 1082 |
EC Number: 201-201-8 |
อันตรายเฉียบพลัน | การป้องกัน | การระงับอัคคีภัย | |
---|---|---|---|
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด | ไวไฟ แก๊ส/อากาศผสม เป็นสารที่ทำให้ระเบิดได้ | ห้ามใกล้เปลวไฟ ห้ามใกล้ประกายไฟ และห้ามสูบบุหรี่ ระบบปิด ระบายอากาศ อุปกรณ์ไฟฟ้าป้องกันระเบิดและไฟฉายป้องกันการระเบิด ป้องกันการเกิดประจุไฟฟ้าสถิต (เช่น มีสายดิน เป็นต้น) | ถ้าไม่สามารถถ้าไม่สามารถดับไฟได้และพิจารณาแล้วว่าเผาไหม้นั้นไม่มีภาวะเสี่ยงใด ๆ ต่อสถานการณ์โดยรอบ ให้หยุดการส่งกำลังไประงับเหตุ และให้ปล่อยให้เพลิงไหม้จนดับไปเอง ส่วนในกรณีอื่น ๆ ให้ดับเพลิงด้วย ฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (สเปรย์น้ำ), โฟมดับเพลิง, ผงแห้ง, คาร์บอนไดออกไซด์ ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของภาชนะบรรจุสารเคมีด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้กับภาชนะเก็บสารเคมีนั้น การดับไฟจากที่กําบัง |
อาการแสดง | การป้องกัน | การปฐมพยาบาล | |
---|---|---|---|
ทางการหายใจ | เวียนศีรษะ คลื่นไส้ | ใช้ การระบายอากาศ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ | อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน |
ทางผิวหนัง | เมื่อสัมผัสกับของเหลว: แผลน้ำแข็งกัด | ถุงมือป้องกันความเย็น | ในกรณีเป้นแผลน้ำแข็งกัด: ให้ค่อยๆ ล้างด้วยน้ำ โดยไม่ต้องถอดเสื้อผ้าออก |
ทางตา | สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย | ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ | |
ทางปาก | ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน |
การกำจัดทิ้ง | การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์ |
---|---|
การระบายอากาศ (Ventilation) เขจัดแหล่งกำเนิดประกายไฟทั้งหมด ขจัดไอระเหยด้วยการฉีดพ่นน้ำเป็นละอองฝอย (สเปรย์) การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : เครื่องช่วยหายใจแบบมีถังอากาศในตัว (self-contained breathing apparatus: SCBA) |
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria) การขนส่ง |
การเก็บ | |
มีความคงทนต่อไฟ อยู่ในที่เย็น | |
การบรรจุ/การหีบห่อ | |
ไตรฟลูออโรคลอโรเอทธิลีน | ICSC: 0685 |
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี | |
---|---|
สถานะทางกายภาพของสาร
อันตรายทางกายภาพ
อันตรายทางเคมี
|
C2ClF3สูตรโมเลกุล |
การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ | |
---|---|
ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
|
ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
|
ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน) |
---|
สิ่งแวดล้อม |
---|
หลีกเลี่ยงการปลดปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมเพราะจะมีผลกระทบต่อชั้นของโอโซน |
ข้อสังเกต |
---|
การใส่สารกระตุ้นหรือใส่สารยับยั้งจะมีผลต่อสมบัติความเป็นพิษของสาร จึงควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ |
ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม | ||
---|---|---|
EC Classification |
(th) | ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล |