« กลับไปสู่รายการผลของการสืบค้น  
ไดเมทิลซัลฟอกไซด์ICSC: 0459 (พฤศจิกายน 2023)
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 67-68-5
EC Number: 200-664-3

  อันตรายเฉียบพลัน การป้องกัน การระงับอัคคีภัย
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด การเผาไหม้ ปล่อยไอควันหรือแก๊สที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรือเป็นพิษจากการเกิดเพลิงไหม้  มากกว่า 87 องศาเซลเซียส (°C) จะทำให้เกิดการระเบิดจากไอระเหยหรือจากการผสมของอากาศ เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้และระเบิดเมื่อสัมผัสกับสารที่เข้ากันไม่ได้ โปรดอ่านอันตรายของสารเคมี  ห้ามใกล้เปลวไฟ ห้ามสัมผัสกับสารที่เข้ากันไม่ได้ โปรดอ่านอันตรายจากสารเคมี  เมื่ออุณหภูมิมากกว่า 87 องศาเซลเซียส (°C) ให้ใช้ระบบปิดและมีการระบายอากาศ  ใช้ water spray, foam, powder, carbon dioxide.  ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น 

   
  อาการแสดง การป้องกัน การปฐมพยาบาล
ทางการหายใจ กลิ่นกระเทียม ปวดศีรษะ คลื่นไส้  ใช้ การระบายอากาศ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ  อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน 
ทางผิวหนัง   ถุงมือป้องกัน   
ทางตา รอยแดง  สวมใส่ แว่นตานิรภัย  ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้)  
ทางปาก ลมหายใจมีกลิ่นกระเทียม คลื่นไส้ อาเจียน เซื่องซึม ท้องร่วง  ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน  บ้วนปาก ส่งต่อไปพบแพทย์  

การกำจัดทิ้ง การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์
เขจัดแหล่งกำเนิดประกายไฟทั้งหมด การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ใช้ถุงมือนิรภัย (protective gloves), ใช้ชุดป้องกัน (protective clothing), ใช้แว่นตานิรภัย (safety goggles) และ ใช้เครื่องช่วยการหายใจ (repirator) ที่ใช้ตัวกรองอากาศ (filter) สำหรับแก๊สอินทรีย์และไอระเหยในการป้องกันความเข้มข้นของสารในอากาศที่เข้าสู่ทางเดินหายใจ ให้เก็บของเหลวที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่มีการปิดผนึกแน่นหรือเท่าที่จะทำได้ ดูดซับของเหลวที่ยังเหลือคงค้างอยู่ด้วยทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย ดังนั้น วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งให้ขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) 

ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria)

เตือนภัย
ของเหลวติดไฟ 

การขนส่ง
UN Classification
 

การเก็บ
แยกจาก incompatible materials และ โปรดอ่านเพิ่มเติมในส่วนของอันตรายจากสารเคมี มีการปิดผนึก อยู่ในที่เย็น เก็บในที่แห้ง เก็บรักษาในที่มืด เก็บรักษาในห้องที่มีการถ่ายเทอากาศดี 
การบรรจุ/การหีบห่อ
 
ไดเมทิลซัลฟอกไซด์ ICSC: 0459
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี

สถานะทางกายภาพของสาร
มีลักษณะทางกายภาพเป็นของเหลวไม่มีสี ดูดซับความชื้น  

อันตรายทางกายภาพ
 

อันตรายทางเคมี
สลายตัว เมื่อให้ความร้อนหรือเผา จะเกิดไอควัน (ฟูม) มีพิษหรือมีฤทธิ์ระคายเคืองและ สารซัลเฟอร์ออกไซด์ สารนี้อย่างรุนแรง จะมีปฏิกิริยากับ สารออกซิแดนท์อย่างแรง เช่น สารเพอร์คลอเรต กรดแก่ และ เบสแก่ สารนี้จะก่อให้เกิดอันตรายจากการระเบิดและเพลิงไหม้ 

C2H6OS / (CH3)2SOสูตรโมเลกุล
มวลโมเลกุล: 78.1
จุดเดือด : 189 องศาเซลเซียส
จุดหลอมเหลว : 18.5°C
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (น้ำ = 1): 1.1
ละลายในน้ำ: ผสมกันได้
ความดันไอ ที่อุณหภูมิ 20°C: 59.4 ปาสกาล (Pa)
ความหนาแน่นของไอน้ำสัมพัทธ์ (อากาศ = 1): 2.7
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของส่วนผสมระหว่าง ไอระเหย/อากาศ (vapour/air-mixture) ที่อุณหภูมิ 20°C (อากาศ = 1): 1.0
จุดวาบไฟ : อุณหภูมิ 87°C c.c.
อุณหภุูมิที่ติดไฟได้เอง: 215°C
ขีดจำกัดการระเบิด : 2.6-42.0vol% ในอากาศ
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของสารในชั้นน้ำและชั้นออกทานอล (log Pow): -1.35 (โดยประมาณ)
ความหนืด : 1.95 อัตราส่วนของความหนาแน่นของความหนืด ตารางมิลลิเมตรต่อวินาที (mm²/s) ที่อุณหภูมิ 20°C 


การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ

ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
สารนี้สามารถถุกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจ, ผ่านทางผิวหนัง และ โดยการรับประทาน 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
สารนี้ ทำให้ระคายเคือง เล็กน้อย ต่อ ตา และ ผิวหนัง การได้รับสัมผัสสารนี้ในระดับความเข้มข้นสูง สามารถทำให้การรู้สึกตัวลดน้อยลง. อาจเร่งให้เกิดการดูดซึ่มสารอื่นผ่านทางผิวหนัง (โปรดอ่านข้อสังเกตเพิ่มเติม) 

ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ความเข้มข้นของสารปนเปื้อนในอากาศจะถึงระดับที่เป็นอันตรายอย่างช้า ๆ หากระบายสารนี้ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส; การฉีดพ่นเป็นละอองฝอย (Spraying) หรือการกระจายตัวออกไปจะเร็วกว่ามาก 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
สารนี้มีผลต่อผิวหนัง โดยทำให้ผิวหนังแห้งหรือแตก 


ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน)
MAK: 160 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (mg/m3), 50 ส่วนต่อล้านส่วน (ppm); ประเภทของขีดจำกัดสูงสุด (peak limitation category): I(2); ดูดซึมผ่านผิวหนัง (skin absorption) (H); กลุ่มเสี่ยงตั้งครรภ์ (pregnancy risk group): B 

สิ่งแวดล้อม
ได้มีการสำรวจผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของสารอย่างเพียงพอ แต่ไม่พบผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสำคัญ 

ข้อสังเกต
ควรให้ความใส่ใจเป็นกรณีพิเศษสำหรับพิษของสารไดเมทิลซัลฟอกไซด์ (Dimethyl sulphoxide) เนื่องจากสารนี้สามารถเข้าสู่ร่างกายด้วยการดูดซึมผ่านทางผิวหนัง 

ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม
  EC Classification
 

(th)ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล