« กลับไปสู่รายการผลของการสืบค้น  
1,1-ไดคลอโรค-1-ไนโตรอีเทนICSC: 0434 (เมษายน 2006)
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 594-72-9
UN #: 2650
EC Number: 209-854-0

  อันตรายเฉียบพลัน การป้องกัน การระงับอัคคีภัย
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด ไวไฟ ปล่อยไอควันหรือแก๊สที่ก่อให้เกิดการระคายเคืองหรือเป็นพิษจากการเกิดเพลิงไหม้  มากกว่า 57.8 องศาเซลเซียส (°C) จะทำให้เกิดการระเบิดจากไอระเหยหรือจากการผสมของอากาศ  ห้ามใกล้เปลวไฟ ห้ามใกล้ประกายไฟ และห้ามสูบบุหรี่  เมื่ออุณหภูมิมากกว่า 57.8 องศาเซลเซียส (°C) ให้ใช้ระบบปิดและมีการระบายอากาศ และอุปกรณ์ไฟฟ้าป้องกันการระเบิด  ใช้ water spray, foam, powder, carbon dioxide.  ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น 

   
  อาการแสดง การป้องกัน การปฐมพยาบาล
ทางการหายใจ ไอ เจ็บคอ หายใจลำบาก หายใจสั้น อาการอาจปรากฏช้า โปรดอ่านข้อสังเกตเพิ่มเติม  ใช้ การระบายอากาศ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ  อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน ท่ากึ่งนั่งกึ่งนอน ส่งต่อแพทย์ 
ทางผิวหนัง ผื่นแดง เจ็บปวด  ถุงมือป้องกัน  ให้ถอดเสื้อผ้าหรือชุดที่ปนเปื้อนออก ค่อย ๆ ชำระล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ 
ทางตา ล้างตาด้วยน้ำ รอยแดง ความเจ็บปวด  สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย  ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ 
ทางปาก มึนงง ปวดท้อง  ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน  บ้วนปาก ส่งต่อไปพบแพทย์  

การกำจัดทิ้ง การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์
การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : เครื่องช่วยหายใจแบบมีถังอากาศในตัว (self-contained breathing apparatus: SCBA) ให้เก็บชองเหลวที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดผนึกโลหะ 

ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria)

flam;flameskull;toxic
อันตราย
ของเหลวไวไฟและไอระเหย
อาจเสียชีวิตได้หากหายใจสารนี้เข้าสู่ร่างกาย
เป็นพิษถ้ากลืนกิน
อาจเป็นสาเหตุ ระคายเคืองทางเดินหายใจ 

การขนส่ง
UN Classification
UN Hazard Class: 6.1; หมายเลขของสหประชาชาติระบุกลุ่มของการหีบห่อสาร (UN Pack Group): II 

การเก็บ
มีความคงทนต่อไฟ แยกจาก strong oxidants และ food and feedstuffs 
การบรรจุ/การหีบห่อ
 
1,1-ไดคลอโรค-1-ไนโตรอีเทน ICSC: 0434
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี

สถานะทางกายภาพของสาร
มีลักษณะทางกายภาพเป็นของเหลวไม่มีสี มีกลิ่นฉุน 

อันตรายทางกายภาพ
 

อันตรายทางเคมี
เมื่อมีการสันดาป รูปแบบของสารเป็น แก๊สพิษร่วมด้วย สารไฮโดรเจนคลอไรด์ สารไนโตรเจนออกไซด์ และ สารฟอสจีน สารนี้อย่างรุนแรง จะมีปฏิกิริยากับ สารออกซิแดนท์อย่างแรง ทำลาย ยาง และ บางรูปของพลาสติก 

C2H3Cl2NO2สูตรโมเลกุล
มวลโมเลกุล: 143.9
จุดเดือด : 124 องศาเซลเซียส
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (น้ำ = 1): 1.4
ละลายในน้ำ ที่อุณหภูมิ 20°C: ได้น้อยมาก
ความดันไอ ที่อุณหภูมิ 20°C: 2 กิโลปาสกาล (kPa)
ความหนาแน่นของไอน้ำสัมพัทธ์ (อากาศ = 1): 5.0
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของส่วนผสมระหว่าง ไอระเหย/อากาศ (vapour/air-mixture) ที่อุณหภูมิ 20°C (อากาศ = 1): 1.0
จุดวาบไฟ : อุณหภูมิ 57.8°C c.c.
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของสารในชั้นน้ำและชั้นออกทานอล (log Pow): 1.56  


การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ

ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
สารนี้สามารถถุกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายโดยการรับประทาน และ โดยการหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เข้าสู่ร่างกาย 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
สารนี้ ทำให้ระคายเคือง ต่อ ตา, ผิวหนัง และ ทางเดินหายใจ หากหายใจได้รับ ไอระเหย อาจทำให้เกิดภาวะปอดบวมน้ำ (โปรดอ่านข้อสังเกตเพิ่มเติม) 

ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส สารอันตรายนี้จะระเหยปนเปื้อนในอากาศอย่างรวดเร็ว เมื่อฉีดพ่นเป็นละอองฝอย (Spraying) หรือทำให้กระจายตัวก็จะทำให้สารนี้ระเหยได้รวดเร็วยิ่งขึ้น 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
 


ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน)
TLV: 2 ส่วนในล้านส่วน (ppm) กรณีค่าเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงาน (TWA) 

สิ่งแวดล้อม
ยังไม่มีการศึกษาสนับสนุนเียงพอว่าสารนนี้มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 

ข้อสังเกต
อาการปอดบวมนั้น มักพบบ่อยว่ายังมีอาการไม่ชัดเจน จนกว่าจะผ่านระยะเวลา 2 - 3 ชั่วโมง และมีการออกกำลังกาย ก็จะพบว่ามีปอดบวมชัดเจน
การพักผ่อนและการมีแพทย์สังเกตอาการเป็นสิ่งจำเป็น 

ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม
  EC Classification
สัญลักษณ์ : T; R: 23/24/25; S: (1/2)-26-45 

(th)ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล