« กลับไปสู่รายการผลของการสืบค้น  
2-บิวทานอลICSC: 0112 (พฤษภาคม 2018)
2-บิวทานอล
เซคันดารี-บิวทิลแอลกอฮอล์
บิวแทน-2-ออล
1-เมทิลโพรพานอล
เมทิล อีทิล คาร์บินอล
บิวทิลีนไฮเดรต
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 78-92-2
UN #: 1120
EC Number: 201-158-5

  อันตรายเฉียบพลัน การป้องกัน การระงับอัคคีภัย
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด ไวไฟ  มากกว่า 24 องศาเซลเซียส (°C) จะทำให้เกิดการระเบิดจากไอระเหยหรือจากการผสมของอากาศ  ห้ามใกล้เปลวไฟ ห้ามใกล้ประกายไฟ และห้ามสูบบุหรี่  เมื่ออุณหภูมิมากกว่า 24 องศาเซลเซียส (°C) ให้ใช้ระบบปิดและมีการระบายอากาศ และอุปกรณ์ไฟฟ้าป้องกันการระเบิด  ใช้ water spray, powder, foam, carbon dioxide.  ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น 

   
  อาการแสดง การป้องกัน การปฐมพยาบาล
ทางการหายใจ ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ เซื่องซึม  ใช้ การระบายอากาศ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ  อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน ส่งต่อแพทย์ 
ทางผิวหนัง ผิวแห้ง  ถุงมือป้องกัน  ให้ถอดเสื้อผ้าหรือชุดที่ปนเปื้อนออก ค่อย ๆ รินน้ำเปล่าล้างผิวหนัง หรือใช้ฝักบัวในการชะล้าง 
ทางตา รอยแดง ความเจ็บปวด  สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย  ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ 
ทางปาก อาการเวียนศีรษะ เซื่องซึม  ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน  บ้วนปาก ให้ดื่มน้ำหนึ่งหรือสองแก้ว ไม่ทำให้อาเจียน ส่งต่อไปพบแพทย์  

การกำจัดทิ้ง การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์
การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ใช้เครื่องช่วยการหายใจ (repirator) ที่ใช้ตัวกรองอากาศ (filter) สำหรับแก๊สอินทรีย์และไอระเหยในการป้องกันความเข้มข้นของสารในอากาศที่เข้าสู่ทางเดินหายใจ ให้เก็บของเหลวที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่มีการปิดผนึกแน่นหรือเท่าที่จะทำได้ ดูดซับของเหลวที่ยังเหลือคงค้างอยู่ด้วยทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย ดังนั้น วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งให้ขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) ให้ล้างสารที่ยังตกค้างด้วยน้ำเปล่า 

ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria)

flam;flameexcl mark;warncancer;health haz
เตือนภัย
ของเหลวไวไฟและไอระเหย
อาจเกิดอันตรายต่อสุขภาพหากกลืนกินสารนี้
อาจก่อให้เกิดการระคายเคืองตา
อาจเป็นสาเหตุ ระคายเคืองทางเดินหายใจ
อาจก่อให้เกิดอาการง่วงซึม หรือเวียนศีรษะ
อาจเป็นอันตรายหากกลืนกินสารนี้หรือได้รับสารนี้ทางการหายใจ 

การขนส่ง
UN Classification
UN Hazard Class: 3; หมายเลขของสหประชาชาติระบุกลุ่มของการหีบห่อสาร (UN Pack Group): III 

การเก็บ
มีความคงทนต่อไฟ แยกจาก strong oxidants และ aluminium 
การบรรจุ/การหีบห่อ
 
2-บิวทานอล ICSC: 0112
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี

สถานะทางกายภาพของสาร
มีลักษณะทางกายภาพเป็นของเหลว ไม่มีสี มีกลิ่นเฉพาะ 

อันตรายทางกายภาพ
 

อันตรายทางเคมี
สารนี้สามารถกลายเป็นสารในรูปของสารเพอร์ออกไซด์ (peroxides) ซึ่งเป็นสารระเบิด สารนี้ จะมีปฏิกิริยากับ สารอะลูมิเนียมเมื่อถูกทำให้ร้อนที่อุรหภูมิ 100 องศาเซลเซียส (°C) และ สารออกซิแดนท์อย่างแรง เช่น สารโครเมียมไตรออกไซด์ จะเกิดแก๊สไวไฟ/แก๊สระเบิด (ไฮโดรเจน - (โปรดอ่านการ์ด ICSC 0001) ทำลาย บางรูปของพลาสติก, ยาง และ การเคลือบ 

C4H10O / CH3CHOHCH2CH3สูตรโมเลกุล
มวลโมเลกุล: 74.1
จุดเดือด : 100 องศาเซลเซียส
จุดหลอมเหลว : -115°C
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (น้ำ = 1): 0.81
ละลายในน้ำ (ได้ดี) ที่อุณหภูมิ 25°C: ≈21กรัมต่อ 100 มิลลิตร (g/100ml)
ความดันไอ ที่อุณหภูมิ 20°C: 1.7 กิโลปาสกาล (kPa)
ความหนาแน่นของไอน้ำสัมพัทธ์ (อากาศ = 1): 2.55
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ของส่วนผสมระหว่าง ไอระเหย/อากาศ (vapour/air-mixture) ที่อุณหภูมิ 20°C (อากาศ = 1): 1.03
จุดวาบไฟ : อุณหภูมิ 24°C c.c.
อุณหภุูมิที่ติดไฟได้เอง: 406°C
ขีดจำกัดการระเบิด : 1.7-9.0vol% ในอากาศ
ค่าสัมประสิทธิ์การกระจายตัวของสารในชั้นน้ำและชั้นออกทานอล (log Pow): 0.6
ความหนืด : 3.8 อัตราส่วนของความหนาแน่นของความหนืด ตารางมิลลิเมตรต่อวินาที (mm²/s) ที่อุณหภูมิ 25°C 


การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ

ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
สารนี้สามารถถุกดูดซึมเข้าสู่ร่างกายโดยการหายใจเอาไอระเหยของสารนี้เข้าสู่ร่างกาย และ โดยการรับประทาน 

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
สารนี้ ทำให้ระคายเคือง ต่อ ตา และ ทางเดินหายใจส่วนบน การได้รับสัมผัสสารนี้มากไปกว่าค่า OEL สามารถทำให้การรู้สึกตัวลดน้อยลง. หากกลืนสารนี้อาจทำให้อาเจียนและทำให้เกิดปอดอักเสบจากการสำลัก 

ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ที่อุณหภูมิ 20 องศาเซลเซียส สารอันตรายนี้จะระเหยปนเปื้อนในอากาศอย่างช้า  

ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
สารนี้มีผลต่อผิวหนัง โดยทำให้ผิวหนังแห้งหรือแตก 


ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน)
TLV: 100 ส่วนในล้านส่วน (ppm) กรณีค่าเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงาน (TWA) 

สิ่งแวดล้อม
 

ข้อสังเกต
ตรวจสอบสารเปอร์ออกไซด์ก่อนการกลั่น; ถ้าพบสารเปอร์ออกไซด์ให้กำจัด 

ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม
  EC Classification
สัญลักษณ์ : Xi; R: 10-36/37-67; S: (2)-7/9-13-24/25-26-46; โปรดดูข้อสังเกต: C 

(th)ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล