โทลูอีน | ICSC: 0078 (พฤศจิกายน 2023) |
โทลูอีน เมทิลเบนซีน โทลูออล ฟีนิลมีเทน |
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 108-88-3 |
UN #: 1294 |
EC Number: 203-625-9 |
อันตรายเฉียบพลัน | การป้องกัน | การระงับอัคคีภัย | |
---|---|---|---|
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด | ไวไฟสูง ไอระเหย/ส่วนผสมของอากาศทำให้ระเบิด เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้และระเบิดเมื่อสัมผัสกับสารออกซิไดซ์อย่างแรง | ห้ามใกล้เปลวไฟ ห้ามใกล้ประกายไฟ และห้ามสูบบุหรี่ ระบบปิด ระบายอากาศ อุปกรณ์ไฟฟ้าป้องกันระเบิดและไฟฉายป้องกันการระเบิด ป้องกันการเกิดประจุไฟฟ้าสถิต (เช่น มีสายดิน เป็นต้น) ห้ามใช้อากาศอัดในการบรรจุสาร การถ่ายเท หรือ การขนย้าย ใช้เครื่องมือชนิดที่ไม่เกิดประกายไฟ ห้ามสัมผัสกับสารออกซิไดซิิ่งเข้มข้น | ใช้ foam, powder, carbon dioxide, water spray. ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น |
หลีกเลี่ยงทุกการสัมผัสสารเคมีนี้! | |||
---|---|---|---|
อาการแสดง | การป้องกัน | การปฐมพยาบาล | |
ทางการหายใจ | เจ็บคอ ไอ เวียนศีรษะ เซื่องซึม ปวดศีรษะ คลื่นไส้ หมดสติ | ใช้ การระบายอากาศ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ | อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน ส่งต่อแพทย์ทันที |
ทางผิวหนัง | ผื่นแดง ผิวแห้ง | ถุงมือป้องกัน | ขั้นตอนแรกให้ค่อยๆ ชำระล้างด้วยน้ำเป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที จากนั้นให้ถอดเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนออกแล้วค่อยๆ ชำระล้างผิวหนังด้วยน้ำอีกครั้ง ค่อย ๆ ชำระล้างผิวหนังด้วยน้ำและสบู่ ส่งต่อ ไปพบแพทย์เพื่อให้การรักษา |
ทางตา | รอยแดง ความเจ็บปวด | สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย | ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ |
ทางปาก | อันตรายจากการสำลัก มึนงง ปวดท้อง อาเจียน โปรดอ่านข้อมูลกรณีการหายใจเพิ่มเติม | ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน | บ้วนปาก ไม่ให้ดื่มน้ำหรือของเครื่องดื่มใดๆ ไม่ทำให้อาเจียน ส่งต่อไปพบแพทย์ทันที โปรดอ่านข้อสังเกต |
การกำจัดทิ้ง | การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์ |
---|---|
อพยพออกจากพื้นที่อันตราย! ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ การคุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล : ชุดป้องกันสารเคมี และ เครื่องช่วยหายใจแบบมีถังอากาศในตัว (self-contained breathing apparatus: SCBA) การระบายอากาศ (Ventilation) เขจัดแหล่งกำเนิดประกายไฟทั้งหมด ห้ามล้างสารเคมีลงสู่ท่อระบายน้ำ ห้ามปล่อยสารเคมีนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม ให้เก็บของเหลวที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่มีการปิดผนึกแน่นหรือเท่าที่จะทำได้ ดูดซับของเหลวที่ยังเหลือคงค้างอยู่ด้วยทรายหรือสารดูดซับเฉื่อย ดังนั้น วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งให้ขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) |
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria) ![]() ![]() ![]() ![]() อันตราย
ของเหลวไวไฟสูงและไอระเหยอาจทำให้เสียชีวิตได้หากกลืนกินสารนี้หรือหายใจรับสารนี้เข้าสู่ร่างกาย ก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนัง อาจก่อให้เกิดอาการง่วงซึม หรือเวียนศีรษะ เหตุอันควรสงสัยของภาวะเจริญพันธุ์ถูกทำลายหรือเด็กที่ยังไม่เกิด อาจเป็นสาเหตุทำลายระบบประสาทตลอดการได้รับสัมผัสสารหรือได้รับสัมผัสสารซ้ำ [" ถ้า "P2 เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำโดยมีผลกระทบเป็นะยะเวลานาน การขนส่ง |
การเก็บ | |
มีการปิดผนึก มีความคงทนต่อไฟ แยกจาก strong oxidants เก็บรักษาในพื้นที่ที่ไม่มีการระบายหรือมีท่อระบายน้ำ เก็บรักษาไว้ในบรรจุภัณฑ์เดิม | |
การบรรจุ/การหีบห่อ | |
โทลูอีน | ICSC: 0078 |
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี | |
---|---|
สถานะทางกายภาพของสาร
อันตรายทางกายภาพ
อันตรายทางเคมี
|
C6H5CH3 / C7H8สูตรโมเลกุล |
การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ | |
---|---|
ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
|
ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
|
ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน) |
---|
TLV: 20 ส่วนในล้านส่วน (ppm) กรณีค่าเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงาน (TWA); (OTO); A4 (not classifiable as a human carcinogen); กำหนดค่า BEI. EU-OEL: 192 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (mg/m3) , 50 ส่วนในล้านส่วน (ppm) กรณีค่าเฉลี่ยตลอดการทำงาน (TWA); 384 ,มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (mg/m3), 100 ส่วนในล้านส่วน (ppm) as STEL; (ผิวหนัง) |
สิ่งแวดล้อม |
---|
สารนี้เป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ สารนี้อาจก่อให้เกิดผลกระทบระยะยาวต่อสิ่งมีชีวิตในสิ่งแวดล้อม ต้องไม่แพร่สารนี้ออกสู่สิ่งแวดล้อม |
ข้อสังเกต |
---|
ขึ้นอยู่กับระดับของการได้รับสัมผัส และการแนะนำการตรวจสุขภาพตามระยะที่กำหนด การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จะทำให้เพิ่มอันตราย การรับประทาน หรือการดื่ม หรือเรียกว่าด้วยการกลืนกิน (ingestion) สารนี้เข้าไปแล้วสำลัก จะทำให้สารเข้าสู่ทางเดินหายใจได้ ดังนั้นการรับประทานสารนี้จึงเสี่ยงต่อการทำให้เกิดโรคปอดอักเสบจากสารเคมี (chemical pneumonitis) จากการสำลักดังกล่าวได้ อาการของโรคปอดอักเสบจากสารเคมีนี้จะไม่ปรากฏชัดเจนจนกว่าเวลาจะผ่านไปสองสามชั่วโมงหรือสองสามวัน |
ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม | ||
---|---|---|
EC Classification |
(th) | ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล |