เอทานอล (แอนไฮดรัส) | ICSC: 0044 (พฤษภาคม 2018) |
เอทานอล (แอนด์ไฮดรัส) เอทิลแอลกอฮอล์ แอบโซลูทเอทานอล เมทิลคาร์บินอล เกรนแอลกอฮอล์ |
เลขประจำตัวสารเคมี (CAS #): 64-17-5 |
UN #: 1170 |
EC Number: 200-578-6 |
อันตรายเฉียบพลัน | การป้องกัน | การระงับอัคคีภัย | |
---|---|---|---|
เพลิงไหม้และรายละเอียด; การระเบิด | ไวไฟสูง ไอระเหย/ส่วนผสมของอากาศทำให้ระเบิด เสี่ยงต่อการเกิดเพลิงไหม้และระเบิดเมื่อสัมผัสกับสารที่เข้ากันไม่ได้ โปรดอ่านอันตรายของสารเคมี | ห้ามใกล้เปลวไฟ ห้ามใกล้ประกายไฟ และห้ามสูบบุหรี่ ระบบปิด ระบายอากาศ อุปกรณ์ไฟฟ้าป้องกันระเบิดและไฟฉายป้องกันการระเบิด ห้ามใช้อากาศอัดในการบรรจุสาร การถ่ายเท หรือ การขนย้าย ห้ามการสัมผัสกับสารที่เข้ากันไม่ได้ โปรดอ่านในส่วนของ "อันตรายจากสารเคมี (Chemical Danger)" | ใช้ water spray, powder, alcohol-resistant foam, carbon dioxide. ในกรณีของเพลิงไหม้ ให้รักษาอุณหภูมิของถังบรรจุสารเคมีให้เย็นด้วยการฉีดน้ำเป็นละอองฝอย (spraying) ให้ถังบรรจุสารเคมีนั้น |
ควบคุมสุขอนามัยอย่างเข้มงวด ป้องกันการปล่อยละอองสารเคมี | |||
---|---|---|---|
อาการแสดง | การป้องกัน | การปฐมพยาบาล | |
ทางการหายใจ | ไอ ปวดศีรษะ เมื่อยล้า เซื่องซึม | ใช้ การระบายอากาศ การระบายอากาศเฉพาะที่ อุปกรณ์คุ้มครองทางเดินหายใจ | อากาศบริสุทธิ์ พักผ่อน |
ทางผิวหนัง | ผิวแห้ง | เสื้อผ้าป้องกัน ผ้ากันเปื้อน ถุงมือป้องกัน | ให้ถอดเสื้อผ้าหรือชุดที่ปนเปื้อนออก ค่อย ๆ รินน้ำเปล่าล้างผิวหนัง หรือใช้ฝักบัวในการชะล้าง |
ทางตา | รอยแดง ความเจ็บปวด รู้สึกแสบร้อน | สวมใส่ แว่นครอบตานิรภัย | ขั้นแรกให้ค่อย ๆ ล้างด้วยน้ำสะอาด 2- 3 นาที (ให้เอาคอนแทคเลนส์ออก ถ้าสามารถเอาออกได้) จากนั้นให้นำส่งแพทย์ |
ทางปาก | มึนงง ปวดศีรษะ สับสน อาการเวียนศีรษะ สลบ | ห้ามรับประทานอาหาร น้ำดื่ม หรือสูบบุหรี่ระหว่างปฏิบัติงาน | บ้วนปาก ให้ดื่มน้ำหนึ่งหรือสองแก้ว ส่งต่อไปพบแพทย์ทันที |
การกำจัดทิ้ง | การจำแนกประเภทและรายละเอียด: ตราสัญลักษณ์ |
---|---|
เขจัดแหล่งกำเนิดประกายไฟทั้งหมด การระบายอากาศ (Ventilation) ห้ามล้างสารเคมีลงสู่ท่อระบายน้ำ ให้เก็บของเหลวที่หกรั่วไหลในภาชนะบรรจุที่ปิดมิดชิดเท่าที่จะทำได้ ดูดซับของเหลวที่ยังเหลือคงค้างอยู่ด้วยสารดูดซับเฉื่อย ให้ล้างสารที่ยังตกค้างด้วยน้ำเปล่า วิธีการจัดเก็บและวิธีการกำจัดทิ้งขึ้นอยู่กับกฎที่ใช้ควบคุมในพื้นที่นั้น (local regulation) |
ขึ้นอยู่กับเกณฑ์กำหนด GHS ของ UN (UN GHS Criteria) ![]() ![]() ![]() อันตราย
ของเหลวไวไฟสูงและไอระเหยเป็นอันตรายหากกลืนกินสารนี้ ก่อให้เกิดการระคายเคืองตารุนแรง อาจเป็นสาเหตุทำลายอวัยวะตลอดการได้รับสัมผัสสารหรือได้รับสัมผัสสารซ้ำ [" ถ้า "P2 การขนส่ง |
การเก็บ | |
มีความคงทนต่อไฟ แยกจาก โปรดอ่านเพิ่มเติมในส่วนของอันตรายจากสารเคมี | |
การบรรจุ/การหีบห่อ | |
เอทานอล (แอนไฮดรัส) | ICSC: 0044 |
กายภาพและรายละเอียด; ข้อมูลสารเคมี | |
---|---|
สถานะทางกายภาพของสาร
อันตรายทางกายภาพ
อันตรายทางเคมี
|
CH3CH2OH / C2H6Oสูตรโมเลกุล |
การได้รับสัมผัสและรายละเอียด; ผลกระทบต่อสุขภาพ | |
---|---|
ทางผ่านการได้รับสัมผัสเข้าสู่ร่างกาย
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสในระยะเวลาสั้น
|
ความเสี่ยงต่อการหายใจ
ผลกระทบต่อสุขภาพจากการได้รับสัมผัสเป็นระยะเวลานานหรือได้รับสัมผัสซ้ำ
|
ขีดจำกัดการได้รับสัมผัสในการประกอบอาชีพ (การทำงาน) |
---|
TLV: 1000 ส่วนในล้านส่วน (ppm) กรณ๊ขีดจำกัดระยะสั้น (STEL); A3 (confirmed animal carcinogen with unknown relevance to humans). MAK: 380 มิลลิกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (mg/m3), 200 ส่วนต่อล้านส่วน (ppm); ประเภทของขีดจำกัดสูงสุด (peak limitation category): II(4); การจำแนกกลุ่มมะเร็ง (carcinogen categor): 5; กลุ่มเสี่ยงตั้งครรภ์ (pregnancy risk group): C; กลุ่มที่ทำให้เซลล์สืบพันธุ์เกิดการกลายพันธุ์: 5 |
สิ่งแวดล้อม |
---|
ได้มีการสำรวจผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของสารอย่างเพียงพอ แต่ไม่พบผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างมีนัยสำคัญ |
ข้อสังเกต |
---|
การดื่มแอลกอฮอล์ระหว่างตั้งครรภ์อาจทำให้เกิดผลกระทบที่ไม่พึงประสงค์ต่อทารกในครรภ์ได้ การดื่มเอทานอลเป็นระยะเวลานานอาจทำให้เป็นโรคตับแข็งและเป็นโรคมะเร็งตับได้ |
ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม | ||
---|---|---|
EC Classification |
(th) | ทั้งนี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) หรือองค์การอนามัยโลก (WHO) หรือสหภาพยุโรป (European Union) จะไม่รับผิดชอบต่อคุณภาพและความแม่นยำของการแปล หรือการใช้ซึ่งจะเกิดขึ้นจากการใช้ข้อมูล |